วันพฤหัสบดีที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2555

สำหรับข้อความที่เราจะใส่ข้อความลงในเว็บเพจนั้นจะต้องตั้งค่าภาษาก็คือเอ็นโคดิ้งคลิกที่เมนูคำสั่ง modify เลือก ไทเกอร์เอ็นโคดิ้งจากนั้นก็ปรับแต่งจนเสร็จก็กดโอเคจะเห็นว่าที่เราพิมพ์นั้นเมื่อเราปรับแต่งนั้นเวลาเคาะวรรคจะทำให้เราเคาะวรรคได้เยอะในส่วนของที่จะปรับแต่งภาษเราก็ที่กดที่ปุ่ม ทิวที่แป้นได้เลยาหกต้องการที่จะขึ้นบรรทัดใหม่เราก็จะพิมพ์ไปตามปกติแล้วกดที่ปุ่ม enterได้ทันทีจากนั้ันก็เกี่ยข้อความใฟ้พอดีถ้าเกิดจะแบ่งเป็นส่วนจะใช้ซีรเคิลบาร์เข้ามาช่วยปกติขอบของเราจะไม่บอกบนหน้าจอเราจะให้แสดงเหมือนเป็นเส้นคอบเราก้จะไปเลือกในส่วนคำสั่งของ วิว เ้ลือก ลูเลอร์ เลือก โชว์เมื่อเลือกเสร็จจะโชว์ในส่วนของตัวเลขขึ้นมาถ้าเิกิดต้องการเลือกข้อความทีละบรรทัดเราก็สามารถนำเมาส์ไปวางไว้ในส่วนของเส้นขอบที่ทำไว้เมาส์ของเราก็จะหันมาทางด้านขวาก็จะได้บรรทัดที่ต้องการถ้าเิกิดต้องการเลือกทีละหลายบรรทัดก็แค่แลื่อนลงมาแล้วปรับแต่งให้เป็นตัวหนาทั้งหมดแล้วเปลี่ยนขนาดแล้วเพิ่มในส่วนของสีก็คือการเลือกข้อความพร้อมกับการปรับแต่ง

วันพฤหัสบดีที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

การสร้างหน้าเว็บเพจใหม่

การใส่ข้อความลงในเว็บเพจเราต้องตั้งค่าภาษาเราจะใช้ในเมนูคำสั่งแล้วเลือกคำัส่งmodifyเลือกpage Rroperties เลือก Title/Encoding เราจะทำการปรับแต่งในส่วนของ Encoding เราจะเลือกเป็นUnicode(UTF-8)ส่วน Titleก็จะพิมพ์ข้อความที่ทำลงไปจากนั้นคลิกที่ปุ่มOKเมื่อเราตั้งค่าเสร็จก็จะสะดวกในการพิมพ์ จากนั้นเลือกในส่วนของข้อความทั้งหมดจากนั่นเลือกในส่วนของ justifeyก็จะขึ้นให้เรากอกชื่อแล้ว OK ถ้าเกิดข้อความห่างเกินไปก็ต้อง save ก่อน

วันอาทิตย์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2555


มารยาทการใช้อินเทอร์เน็ต มารยาทการใช้อินเทอร์เน็ต มีดังนี้
        1. การใช้อักษรพิมพ์ตัวใหญ่หมดทุกตัวในการเขียนจดหมายจะเป็นเสมือนการตะโกน ดังนั้นควรเลือกใช้ตัวอักษรให้เหมาะสม
        2. ไม่ควรใช้อารมณ์ในการตอบโต้ และควรรักษามารยาทโดยใช้คำที่สุภาพ
        3. ไม่มีความลับใด ๆ บน Internet ให้นึกเสมอว่าข้อความของเราจะมีคนอ่านมากมายเมื่อเขียนไปแล้วไม่สามารถลบล้างได้
การใช้อินเทอร์เน็ต
        ในสังคมอินเทอร์เน็ตนั้น มีทั้งคนดีและคนไม่ดีเช่นเดียวกับสังคมทั่วไป ผุ้ใช้ที่ไม่ระมัดระวังจึงอาจถูกล่อลวงไปในทางที่ผิดหรือก่อให้เกิดอันตรายได้ ฉะนั้น วิธีหนึ่งที่จะป้องกันเยาวชนไทยจากปัญหาเหล่านี้ก็คือ การให้เยาวชนรู้จักกับศิลปป้องกันตัวในอินเทอร์เน็ต

ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตควรจะรู้และยึดถือปฏิบัติ ดังนี้
        1. ไม่บอกข้อมูลส่วนตัว เช่น ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชื่อ โรงเรียนของตนให้แก่บุคคลอื่นที่รู้จักกันทางอินเทอร์เน็ต โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ปกครองก่อน
        2. หากพบข้อความหรือรูปภาพใดๆ บนอินเทอร์เน็ตที่มีลักษณะหยาบคายหรือไม่เหมาะสม ควรแจ้งให้ผู้ปกครองทราบทันที
        3. ไม่ควรไปพบบุคคลใดก็ตามที่รู้จักกันทางอินเทอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ปกครองก่อน และหากผู้ปกครองอนุญาต ก็ควรไปพร้อมกับผู้ปกครอง โดยควรไปพบกันในที่สาธารณะ
        4. ไม่ส่งรูปหรือสิ่งใดๆ ให้บุคคลที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต โดยมิได้รับอนุญาตจากผู้ปกครองก่อน
        5. ไม่ตอบคำถามหรือต่อความกับผู้ที่สื่อข้อความหยาบคาย และต้องแจ้งให้ผู้ปกครองทราบทันที
        6. ควรเคารพต่อข้อต่อลงในการใช้อินเทอร์เน็ตที่ให้ไว้กับผู้ปกครอง เช่น กำหนดระยะเวลาในการใช้อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ที่ผู้ปกครองอนุญาตให้เข้าได้
        7. ต้องปฏิบัติตามกฏข้างต้นทุกกรณี


       ไม่เพียงแต่เยาวชนเท่านั้นที่ควรป้องกันตัวในการใช้อินเทอร์เน็ต ผู้ปกครองเองก็ควรมีส่วนร่วมในการป้องกันอันตรายให้กับเยาวชนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเช่นกัน โดยการปฏิบัติตามแนวทาง 4 ประการดังต่อไปนี้
        1. ปฏิบัติตามกฎข้างต้นทุกกรณี ผู้ปกครองควรใช้เวลาเล่นอินเทอร์เน็ตด้วยกับบุตรหลาน เพื่อจะได้เรียนรู้ว่าเขาใช้อินเทอร์เน็ตไปในทิศทางใด และมีความสนใจเรื่องใด
        2. ผู้ปกครองควรสอนให้บุตรหลานรู้จักถึงศิลปป้องกันตัวในการใช้อินเทอร์เน็ต
        3. ผู้ปกครองควรพูดคุยทำความตกลงเกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เน็ตของบุตรหลาน เช่น เวลาที่ใช้ได้ ประเภทของเว็บไซต์และกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ตที่เข้าร่วมได้
        4. ผู้ปกครองควรวางคอมพิวเตอร์ที่บุตรหลานใช้ไว้ในที่เปิดเผยที่ทุกคนมองเห็นได้ ไม่ควรไว้ในห้องส่วนตัวของเขา




มารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ต

อ้างอิง
http://www.chaiwbi.com/anet01/p04/t04m.htmlมารยาทในการใชัอินเทิอร์เน็ต

วันพฤหัสบดีที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม Microsoft office Excel 2007

ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด คือส่วนต่าง ๆ ที่ปรากฎอยู่บนหน้าจอ 
ทั้งส่วนที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับโปรแกรมและส่วนที่เรียกใช้งาน
 แถบชื่อ (Title Bar : ไตเติ้ลบาร์)
เป็นแถบสีน้ำเงินอยู่บนสุดของหน้าต่าง ทางด้านซ้่ายประกอบด้วยสัญลักษณ์ของโปรแกรม (คอนโทรลเมนู) ชื่อแฟ้มข้อมูล
ที่กำลังเปิดใช้่งานอยู่ ชื่อโปรแกรม ส่วนด้านขวามือเป็นปุ่มควบคุมหน้าต่าง 3 ปุ่ม
 ได้แก่ ปุ่มมินิไมซ์, ปุ่มรีสโตร์ ดาวน์ หรือ 
ปุ่มแมกซิไมซ์ (ขึ้นอยู่กับสถานะของหน้าต่างขณะใช้งาน) และ ปุ่มปิดโปรแกรม 
 แถบคำสั่ง (Menu Bar : เมนูบาร์)
แถบที่สองรองจากไตเติ้ลบาร์ เป็นแถบที่ใช้แสดงรายชื่อคำสั่งต่าง ๆ เพื่อให้เราเลือกใช้สำหรับทำงานในโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด  
 แถบเครื่องมือ (Toolbars : ทูลบาร์)
แถบที่มีรูปสัญลักษณ์แทนคำสั่งต่าง ๆ ที่เรียกใช้งานบ่อย ๆ ซึ่งแถบเครื่องมือหลักที่ใช้ประจำมี 3 ชนิด คือ 
1. แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard toolbars : แสตนดาร์ดทูลบาร์) ประกอบด้วยปุ่มที่เกี่ยวข้องกับการจัดการแฟ้มข้อมูล
เช่น การสร้าง การเปิดแฟ้มข้อมูล การบันทึกแฟ้มข้อมูล การสำเนาข้อความ เป็นต้น 
2. แถบเครื่องมือจัดรูปแบบ (Formatting toolbars : ฟอร์แมตติ้งทูลบาร์) ประกอบด้วยปุ่มที่เกี่ยวข้องกับการจัดรูปแบบ
ให้กับตัวอักษร ข้อความ ย่อหน้า เช่น เปลี่ยนขนาดตัวอักษร ทำตัวเอียง ตัวหนา การจัดวางตัวอักษร เป็นต้น  
3. แถบเครื่องมือรูปวาด (Drawing toolbars : ดรอว์อิ้งทูลบาร์) ใช้สำหรับสร้่างและจัดการรูปวาด
การเรียกใช้แถบเครื่องมือสามารถเรียกได้ที่คำสั่งมุมมองบนเมนูบาร์ โดยการคลิกที่คำสั่งมุมมองและคลิกคำสั่งย่อย "แถบเครื่องมือ"
เลือกแถบเครื่องมือที่ต้องการให้แสดง จะปรากฎเครื่องหมาย √ หน้าชื่อเครื่องมือนั้น
 ไม้บรรทัด (Ruler : รูเลอร์)
เป็นส่วนที่บอกขอบเขตพื้นที่ในการพิมพ์ ไม้บรรทัดจะมีเฉพาะด้านบนของหน้าจอ (ในมุมมองปกติ) แต่จะมีอยู่ที่ด้านบนและด้านซ้าย
ของหน้าจอ (ในมุมมองเค้าโครงเหมือนพิมพ์) 
ไม้บรรทัดด้านบน จะมีรูปสามเหลี่ยมเล็ก ๆ ที่ด้านซ้ายสุดและขวาสุด ใช้สำหรับย่อหน้าข้อความและปรับพื้นที่ในการพิมพ์ ตามลำดับ 
การเรียกใช้ไม้บรรทัดสามารถเรียกได้ที่คำสั่งมุมมองบนเมนูบาร์ โดยการคลิกที่คำสั่งมุมมอง และคลิกที่คำสั่งย่อย "ไม้บรรทัด"
 มุมมอง (View : วิว)
เป็นสัญลักษณ์รูปแบบพื้นที่ทำงานลักษณะต่าง ๆ อยู่ทางซ้ายมือของแถบเลื่อนแนวนอน ใช้เลือกรูปแบบของพื้นที่ทำงาน ได้แก่ มุมมองปกติ มุมมองเค้าโครงเว็บ มุมมองเค้าโครงเหมือนพิมพ์ มุมมองเค้าร่าง 
และ มุมมองเค้าโครงการอ่าน
การเลือกมุมมองของพื้นที่ทำงาน สามารถเลือกได้ที่คำสั่งมุมมองบนเมนูบาร์ และที่สัญลักษณ์คำสั่งมุมมอง
  แถบเลื่อน (Scroll Bar : ซโครลบาร์)
เป็นแถบใช้เลื่อนดูข้อความที่ซ่อนอยู่ในหน้าต่าง ด้านบน ด้านล่าง ด้านซ้าย และด้านขวา แถบเลื่อนจะปรากฎอยู่ที่ด้านขวาและด้านล่างของหน้าจอ แถบเลื่อนมีลักษณะการใช้งานตามตำแหน่งที่อยู่ดังนี้
  • แถบเลื่อนแนวนอน ใช้่เมื่อต้องการเลื่อนดูข้อความที่ซ่อนอยู่ทางซ้ายหรือทางขวาของหน้าจอ
  • แถบเลื่อนแนวตั้ง ใช้่เมื่อต้องการเลื่อนดูข้อความที่ซ่อนอยู่ด้านบนหรือด้านล่างของหน้าจอ
   แถบสถานะ (Status Bar : ซเททัซบาร์)
เป็นแถบที่อยู่เหนือปุ่ม Start ใช้บอกเลขหน้า เลขส่วน เลขหน้าต่อจำนวนหน้าทั้งหมด บรรทัด คอลัมน์ และภาษาที่ใช้ 
ในการทำงานขณะนั้น ดังนี้
  • เลขหน้า  บอกให้รู้ว่าตำแหน่งการพิมพ์อยู่ที่หน้าใด
  • เลขตอน  บอกให้รู้ว่าตำแหน่งการพิมพ์อยู่ที่ตอนใดของเอกสาร
  • เลขหน้า/จำนวนหน้า  บอกให้รู้ว่าตำแหน่งการพิมพ์อยู่ที่หน้าใดของจำนวนหน้าทั้งหมด
  • ตำแหน่งการพิมพ์  บอกให้รู้ว่าการพิมพ์อยู่ที่ตำแหน่งใดจากส่วนบนของเอกสาร
  • บรรทัด  บอกให้รู้ว่าตำแหน่งการพิมพ์อยู่ที่บรรทัดใด
  • คอลัมน์  บอกให้รู้ว่าตำแหน่งการพิมพ์อยู่ที่คอลัมน์ใด
  • ภาษา  บอกให้รู้ว่ากำลังทำงานด้วยภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ  
  มินิไมซ์ (Minimize : มินิไมซ์) 
เป็นปุ่มแรกสุด อยู่ที่มุมขวาบนของหน้าจอ ใช้สำหรับย่อขนาดของหน้าต่างให้หายไปจากจอภาพ ให้เป็นแถบเล็ก ๆ
บนทาสก์บาร์ (แถบที่มีปุ่ม Start)
  รีสโตร์ ดาวน์ (Restore Down : รีสโตร์ ดาวน์)
เป็นปุ่มที่สอง อยู่ที่มุมขวาบนของหน้าจอ ใช้สำหรับย่อหน้าต่างให้มีขนาดเท่าเดิม (ก่อนขยาย)
  ปิด (Close : คโลส)
เป็นปุ่มสีแดง อยู่ที่มุมขวาบนของหน้าจอ ใช้สำหรับปิดโปรแกรม

วันพฤหัสบดีที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2554